fbpx

โต ติงต๊อง ออดิโอ อีเวนท์ แอนด์ คอมมิวนิเคชั่น

เพื่อการเริ่มต้นอย่างมั่นใจ ดำเนินไปอย่างราบรื่น และจบลงอย่างสง่างาม

การใช้ไมค์โพเดียมให้ถูกต้อง

"ถ้าที่ไหนมีโพเดียม ก็ต้องมีไมค์" มันเป็นสัจธรรม

จากการที่ "โต ติงต๊อง" ได้รับข้อความสอบถามถึงการแก้ไขปัญหาที่เกิดจากไมค์โพเดียมโดยตรงหลายต่อหลายครั้ง ไม่ว่าจะเป็นปัญหาเสียงพรึ่บ (Plosive) หรือหอนง่าย (Gain Before Feedback ต่ำ) ซึ่งมันก็วนซ้ำไปซ้ำมาอยู่อย่างนี้ เพราะสิ่งที่พวกเราเชื่อกันมาตลอดมัน "ผิด" นั่นเอง

  1. คนไทยนิยมเลือกใช้ไมค์โพเดียมที่มีก้านยาวที่สุดเสมอ เพื่อให้แหย่ชิดปากผู้พูด - ผิด
  2. ใช้ฟองน้ำขนาดใหญ่ขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาเสียงพรึ่บจากพยัญชนะต่าง ๆ - ก็ผิด 
  3. ใช้ไมค์คู่แล้วเปิดไมค์พร้อมกัน 2 ตัวเพื่อให้ได้เสียงที่เต็มขึ้น - โคตรจะผิด

ดังนั้นใน Episode 53-54 "โต ติงต๊อง" จะพูดถึงทฤษฎีการวางไมค์ Lecturn (โพเดียม) ที่เป็นรากฐานการออกแบบไมค์ประเภทนี้มาจนถึงปัจจุบัน

ดู Video Blog ได้ที่นี่

ติดตามข่าวสารจาก

คลิกเพื่อกลับหน้า Landing Page ของ Video Blog

บริการของเรา